02-100-4783,081-9087814
ปรึกษาด้านกฏหมายแรงงาน โทรหาเรา
ว่าที่ร้อยตรีวีระชัย หอสุวรรณจิตร
ล่าสุด
- ราชกิจจาฯ เผยแพร่ประกาศคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม จัดตั้งแผนกคดีอาชญากรรมทางเทคโนโลยีในศาลอาญา
- ลูกจ้างขอลาออกโดยกำหนดวันลาออก แต่นายจ้างให้ออกก่อนครบกำหนด ไม่เป็นการเลิกจ้าง
- กสร.ขอความร่วมมือนายจ้าง ให้ลูกจ้างหยุดงานเนื่องในเทศการสงกรานต์
- กสร. ขอความร่วมมือนายจ้าง/สถานประกอบกิจการให้ลูกจ้างหยุดงานในช่วงเทศกาลวันสงกรานต์ ปี 2567
- ลูกจ้างกระทำความผิดทะเลาะวิวาท นายจ้างพักงานแล้ว ไม่อาจนำความผิดเดิมมาเลิกจ้างอีก
- ลูกจ้างหย่อนสมรรถภาพในการทำงาน ลาป่วย ลากิจบ่อยครั้ง เลิกจ้างได้
- ทุจริตต่อหน้าที่เลิกจ้างได้โดยไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย
- ลูกจ้างถูกบังคับให้เขียนใบลาออก ไม่ได้เกิดจากความสมัครใจ ถือเป็นการเลิกจ้าง
- หัวหน้างานรับรองการทำงานล่วงเวลาและทำงานในวันหยุดอันเป็นเท็จ เป็นการทุจริตต่อหน้าที่
- นายจ้างทำสัญญาจ้างมีกำหนดระยะเวลา หากเลิกจ้างก่อนครบกำหนดโดยไม่มีความผิด เป็นการผิดสัญญาจ้างต้องจ่ายค่าเสียหายให้แก่ลูกจ้าง
- ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ประกาศอัตราค่าจ้างฉบับใหม่ มีผล 1 มกราคม 2567
- ประกาศใช้แล้ว “มาตรฐานแรงงานไทยในงานขนส่ง” เพื่อช่วยลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุ
- กสร. เตือนนายจ้างต้องยื่นแบบคร.11 ภายในเดือนมกราคม 2567
- ครม.มีมติเห็นชอบ อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือแรงงานสูงสุด 855 บาท/วัน
- กรมสวัสดิการฯ ขอความร่วมมือนายจ้างให้ลูกจ้างหยุดงานในช่วงเทศกาลปีใหม่
- ลูกจ้างยินยอมโอนย้าย จึงผูกพันตามเงื่อนไขและสภาพการจ้างที่เปลี่ยนแปลงไป
- ลูกจ้างตามมาตรา 11/1 มีสิทธิ์ได้รับสวัสดิการต่างๆ เท่าเทียมกับลูกจ้างตามสัญญาจ้างโดยตรงหรือไม่?
- ครม.เห็นชอบแต่งตั้งปลัดกระทรวงแรงงานคนใหม่
- กสร.เตรียมเสนอครม.ขยายเวลาให้แรงงานข้ามชาติอยู่ต่อถึง 13 ก.พ. 2568
- ศาลรัฐธรรมนูญ ไม่รับคำร้อง กรณีรัฐสภาห้ามโหวต ‘พิธา’ ซ้ำ เหตุผู้ร้องไม่ได้ถูกละเมิดสิทธิและเสรีภาพ โดยตรง มีมติไม่รับคำร้องไว้วินิจฉัย
{"ticker_effect":"slide-v","autoplay":"true","speed":3000,"font_style":"normal"}
ความรู้ทั่วไป
- ราชกิจจาฯ เผยแพร่ประกาศคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม จัดตั้งแผนกคดีอาชญากรรมทางเทคโนโลยีในศาลอาญา
- กสร. ขอความร่วมมือนายจ้าง/สถานประกอบกิจการให้ลูกจ้างหยุดงานในช่วงเทศกาลวันสงกรานต์ ปี 2567
- ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ประกาศอัตราค่าจ้างฉบับใหม่ มีผล 1 มกราคม 2567
- ศาลรัฐธรรมนูญ ไม่รับคำร้อง กรณีรัฐสภาห้ามโหวต ‘พิธา’ ซ้ำ เหตุผู้ร้องไม่ได้ถูกละเมิดสิทธิและเสรีภาพ โดยตรง มีมติไม่รับคำร้องไว้วินิจฉัย
- ศาลรัฐธรรมนูญไม่รับคำฟ้องปมรัฐสภาห้ามโหวต พิธา ซ้ำ
- ประกาศสถานประกอบกิจการดีเด่น ปี 2566
- กกต.เปิดให้ลงทะเบียนเลือกตั้งล่วงหน้านอกเขต – ในเขตเลือกตั้ง
ข่าวสาร
- ประกาศใช้แล้ว “มาตรฐานแรงงานไทยในงานขนส่ง” เพื่อช่วยลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุ
- ครม.มีมติเห็นชอบ อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือแรงงานสูงสุด 855 บาท/วัน
- ครม.เห็นชอบแต่งตั้งปลัดกระทรวงแรงงานคนใหม่
- ศาลรัฐธรรมนูญ ไม่รับคำร้อง กรณีรัฐสภาห้ามโหวต ‘พิธา’ ซ้ำ เหตุผู้ร้องไม่ได้ถูกละเมิดสิทธิและเสรีภาพ โดยตรง มีมติไม่รับคำร้องไว้วินิจฉัย
- กสร.ประกาศผลการพิจารณาคัดเลือกสถานประกอบกิจการดีเด่นประจำปี พ.ศ. 2566
- การเรียกกำลังพลสำรองและทหารกองหนุนเข้ารับราชการทหารของกองทัพบก ประจำปี 2566
- กระทรวงแรงงานขอความร่วมมือนายจ้าง ให้ลูกจ้างลา เพื่อรับราชการทหาร ประจำปี 2566
- แนวปฏิบัติตามมาตรา 23/1 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541
- พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงานฉบับที่ 8 เพิ่มเติมมาตรา 23/1 การนำงานไปทำที่บ้าน
- ครม.เห็นชอบยกเว้นค่าธรรมเนียมใบแทนหนังสือการขึ้นทะเบียน – ใบแทนบัตรประกันสังคม เพื่อลดภาระนายจ้าง-ผู้ประกันตน
คำพิพากษาคดีแรงงาน
- ลูกจ้างขอลาออกโดยกำหนดวันลาออก แต่นายจ้างให้ออกก่อนครบกำหนด ไม่เป็นการเลิกจ้าง
- ลูกจ้างกระทำความผิดทะเลาะวิวาท นายจ้างพักงานแล้ว ไม่อาจนำความผิดเดิมมาเลิกจ้างอีก
- ลูกจ้างหย่อนสมรรถภาพในการทำงาน ลาป่วย ลากิจบ่อยครั้ง เลิกจ้างได้
- ทุจริตต่อหน้าที่เลิกจ้างได้โดยไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย
- ลูกจ้างถูกบังคับให้เขียนใบลาออก ไม่ได้เกิดจากความสมัครใจ ถือเป็นการเลิกจ้าง
- หัวหน้างานรับรองการทำงานล่วงเวลาและทำงานในวันหยุดอันเป็นเท็จ เป็นการทุจริตต่อหน้าที่
- นายจ้างทำสัญญาจ้างมีกำหนดระยะเวลา หากเลิกจ้างก่อนครบกำหนดโดยไม่มีความผิด เป็นการผิดสัญญาจ้างต้องจ่ายค่าเสียหายให้แก่ลูกจ้าง
- ลูกจ้างยินยอมโอนย้าย จึงผูกพันตามเงื่อนไขและสภาพการจ้างที่เปลี่ยนแปลงไป
- ลูกจ้างตามมาตรา 11/1 มีสิทธิ์ได้รับสวัสดิการต่างๆ เท่าเทียมกับลูกจ้างตามสัญญาจ้างโดยตรงหรือไม่?
- ลูกจ้างลาป่วยบ่อยครั้ง นายจ้างมีสิทธิเลิกจ้างได้
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
- กสร.ขอความร่วมมือนายจ้าง ให้ลูกจ้างหยุดงานเนื่องในเทศการสงกรานต์
- กสร. เตือนนายจ้างต้องยื่นแบบคร.11 ภายในเดือนมกราคม 2567
- กรมสวัสดิการฯ ขอความร่วมมือนายจ้างให้ลูกจ้างหยุดงานในช่วงเทศกาลปีใหม่
- กสร.เตรียมเสนอครม.ขยายเวลาให้แรงงานข้ามชาติอยู่ต่อถึง 13 ก.พ. 2568
- กสร.ขอความร่วมมือนายจ้างให้ลูกจ้างหยุดสงกรานต์ 2566
- ยกเลิกประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง ให้ข้อพิพาทแรงงานที่ตกลงกันไม่ได้เข้าสู่การชี้ขาดของ ครส.ฯ
- กสร. ออกประกาศ 2 ฉบับ ภายใต้กฎกระทรวงการจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานฯ พ.ศ. 2565
- กสร. ขอความร่วมมือนายจ้างออกประกาศเกี่ยวกับการใช้กัญชาในสถานประกอบกิจการ
- พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541
- พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
- พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ.2522
- พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533
- พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537
- พระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน พ.ศ.2528
- พระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2543
- พระราชกำหนด การบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2560
กฏหมายแรงงานน่ารู้
คดีแรงงาน เป็นคดีที่มีลักษณะพิเศษแตกต่างไปจากคดีแพ่งและคดีอาญาโดยทั่วไป เพราะเป็นข้อขัดแย้งระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างตามสัญญาจ้างแรงงานหรือเกี่ยวกับสิทธิของนายจ้างและลูกจ้างตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานและกฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ ซึ่งข้อขัดแย้งดังกล่าวควรได้รับการพิจารณาโดยผู้พิพากษาซึ่งเป็นผู้มีความรู้และความเข้าใจในปัญหาแรงงานร่วมกับผู้พิพากษาสมทบฝ่ายนายจ้างและฝ่ายลูกจ้าง ทั้งการดำเนินคดีควรเป็นไปโดยสะดวก ประหยัด รวดเร็ว เสมอภาคและเป็นธรรมเพื่อให้คู่ความมีโอกาสประนีประนอมยอมความและสามารถกลับไปทำงานร่วมกันโดยไม่เกิดความรู้สึกเป็นอริต่อกัน จำเป็นต้องยกเว้นขั้นตอนและวิธีการต่างๆ ที่บัญญัติในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งหลายกรณีด้วยกันเพื่อให้เกิดการคล่องตัวยิ่งขึ้นลักษณะพิเศษของการดำเนินคดีแรงงาน
ลักษณะพิเศษของการดำเนินคดีแรงงาน
- การดำเนินคดีแรงงาน โจทก์และจำเลยไม่ต้องเสียค่าฤชาธรรมเนียมใด ๆ ทั้งสิ้น ไม่ว่าการฟ้อง การส่งหมาย การสืบพยาน หรือการบังคับคดี โดยเฉพาะ การสืบพยานที่ศาลแรงงานเรียกมา ศาลจะเป็น ผู้จ่ายค่าป่วยการ ค่าพาหนะ และค่าเช่าที่พักให้แก่พยานเอง ทั้งนี้ ศาลจะพยายามไกล่เกลี่ยให้โจทก์และจำเลยได้ตกลงกันหรือประนีประนอมยอมความกันเสมอ เพื่อให้ทั้งสองฝ่ายได้มีความเข้าใจอันดีกันต่อไป
- การดำเนินคดีแรงงาน โจทก์และจำเลยไม่ต้องเสียค่าฤชาธรรมเนียมใด ๆ ทั้งสิ้น ไม่ว่าการฟ้อง การส่งหมาย การสืบพยาน หรือการบังคับคดี โดยเฉพาะ การสืบพยานที่ศาลแรงงานเรียกมา ศาลจะเป็น ผู้จ่ายค่าป่วยการ ค่าพาหนะ และค่าเช่าที่พักให้แก่พยานเอง ทั้งนี้ ศาลจะพยายามไกล่เกลี่ยให้โจทก์และจำเลยได้ตกลงกันหรือประนีประนอมยอมความกันเสมอ เพื่อให้ทั้งสองฝ่ายได้มีความเข้าใจอันดีกันต่อไป
- นายจ้าง ลูกจ้าง ผู้มีสิทธิหรือหน้าที่ตามกฎหมายหรือผู้กระทำการแทน หากประสงค์จะเป็น
- โจทก์ฟ้องคดีก็อาจยื่นฟ้องโดยทำเป็นหนังสือหรือมาแถลงข้อหาด้วยวาจาต่อหน้าศาล
- เมื่อศาลได้รับฟ้องไว้แล้ว จะกำหนดวันพิจารณา ออกหมายเรียกจำเลย และนัดโจทก์ให้มาศาลในวันดังกล่าว หากจำเลยได้รับฟ้องไว้แล้ว จะยื่นคำให้การก่อนวันนัดพิจารณาหรือไปให้การในวันนัดก็ได้
- ในวันนัดพิจารณา ทั้งสองฝ่ายต้องมาศาล ถ้าโจทก์ไม่มาศาลจะจำหน่ายคดี แต่ถ้าจำเลยไม่มา ศาลจะพิจารณาชี้ขาดตัดสินคดีของโจทก์ไปฝ่ายเดียว ในกรณีที่โจทก์และจำเลยมาพร้อมกัน ศาลจะพยายามไกล่เกลี่ยเพื่อให้โจทก์และจำเลยได้ตกลงกัน ถ้าตกลงกันไม่ได้ ก็จะกำหนดว่ามีประเด็นข้อพิพาทอย่างไรบ้าง พร้อมทั้งกำหนดให้โจทก์และจำเลยนำพยานหลักฐานมาสืบให้ปรากฏข้อเท็จจริง ต่อไป
- ในการสืบพยาน ศาลจะดำเนินการติดต่อกันไปจนเสร็จคดี เมื่อสืบพยานเสร็จแล้ว โจทก์และจำเลยอาจแถลงการณ์ด้วยวาจาเพื่อให้ศาลทราบถึงข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายที่สำคัญซึ่งได้นำสืบหรืออ้างอิงมา ศาลจะทำคำพิพากษาแล้วอ่านคำพิพากษานั้นโดยเร็ว
ขั้นตอนในการดำเนินคดี
- นายจ้าง ลูกจ้าง ผู้มีสิทธิหรือหน้าที่ตามกฎหมายหรือผู้กระทำการแทน หากประสงค์จะเป็น
- โจทก์ฟ้องคดีก็อาจยื่นฟ้องโดยทำเป็นหนังสือหรือมาแถลงข้อหาด้วยวาจาต่อหน้าศาล
- เมื่อศาลได้รับฟ้องไว้แล้ว จะกำหนดวันพิจารณา ออกหมายเรียกจำเลย และนัดโจทก์ให้มา
- ศาลในวันดังกล่าว หากจำเลยได้รับฟ้องไว้แล้ว จะยื่นคำให้การก่อนวันนัดพิจารณาหรือไปให้การในวันนัดก็ได้
- ในวันนัดพิจารณา ทั้งสองฝ่ายต้องมาศาล ถ้าโจทก์ไม่มาศาลจะจำหน่ายคดี แต่ถ้าจำเลยไม่มา ศาลจะพิจารณาชี้ขาดตัดสินคดีของโจทก์ไปฝ่ายเดียว ในกรณีที่โจทก์และจำเลยมาพร้อมกัน ศาลจะพยายามไกล่เกลี่ยเพื่อให้โจทก์และจำเลยได้ตกลงกัน ถ้าตกลงกันไม่ได้ ก็จะกำหนดว่ามีประเด็นข้อพิพาทอย่างไรบ้าง พร้อมทั้งกำหนดให้โจทก์และจำเลยนำพยานหลักฐานมาสืบให้ปรากฏข้อเท็จจริง ต่อไป
- ในการสืบพยาน ศาลจะดำเนินการติดต่อกันไปจนเสร็จคดี เมื่อสืบพยานเสร็จแล้ว โจทก์และจำเลยอาจแถลงการณ์ด้วยวาจาเพื่อให้ศาลทราบถึงข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายที่สำคัญซึ่งได้นำสืบหรืออ้างอิงมา ศาลจะทำคำพิพากษาแล้วอ่านคำพิพากษานั้นโดยเร็ว